วันจันทร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2560

วิดีโอ เรื่อง บทที่ 5 เทคโนโลยีอวกาศ


วิดีโอ เรื่อง บทที่ 4 ความผิดปกติและโรคทางพันธุกรรม


วิดีโอ เรื่อง บทที่ 3 ระบบนิเวศ


วิดีโอ เรื่อง บทที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อม




บทที่ 5 แบบทดสอบเรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ

ตอนที่ 1 จงเลือกข้อที่ถูกที่สุด

1.มนุษย์ได้ส่งดาวเทียมหรือยานอวกาศไปโคจรรอบโลกได้โดยอาศัยพาหนะใด
   ก.จรวด
   ข.กระสวยอวกาศ
   ค.ยานขนส่งอวกาศ
   ง.ยานขนส่งดาวเทียม

2.ระบบขนส่งอวกาศปัจจุบันได้พัฒนาและออกแบบไว้อย่างไร
   ก.เคลื่อนที่ได้เร็ว
   ข.นำมาใช้ใหม่
   ค.น้ำหนักเบา
   ง.ประหยัดพลังงาน

3.ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของระบบขนส่งอวกาศ
   ก.ถังเชื้อเพลิงภายนอก
   ข.ยานขนส่งอวกาศ
   ค.จรวดเชื้อเพลิงแข็ง
   ง.ยานขนส่งดาวเทียม

4.ผลของร่างกายในข้อใดที่ไม่ได้เกิดจากการดำรงชีวิตในอวกาศ
   ก.โลหิตจาง
   ข.หัวใจทำงานช้าลง
   ค.กล้ามเนื้อมีขนาดเล็กลง
   ง.กระดูกเปาะและแตกหักง่าย

5.มนุษย์อวกาศจะต้องเตรียมตัวอย่างไร ในการดำรงชีวิตในอวกาศ
   ก.นั่งสมาธิเป็นประจำ
   ข.ออกกำลังอย่างหนัก
   ค.นอนพักผ่อนให้มาก
   ง.รับประทานอาหารเสริมพิเศษ

6.อุปกรณ์ที่ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีต่าง ๆ ในอวกาศ คืออะไร
   ก.ถุงนอน
   ข.ชุดอวกาศ
   ค.ชุดทหาร
   ง.ชุดทั่วไป

7.ดาวเทียมชนิดใดที่มีอุปกรณ์ถ่ายภาพเมฆ และเก็บข้อมูลในการใช้พยากรณ์อากาศ
   ก.ดาวเทียมสื่อสาร
   ข.ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
   ค.ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก
   ง.ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์

8.ดาวเทียมชนิดใดที่มีอุปกรณ์สำรวจแหล่งทรัพยากรที่สำคัญ และเฝ้าสังเกตสภาวะแวดล้อมที่เกิดบนโลก
   ก.ดาวเทียมสื่อสาร
   ข.ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
   ค.ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก
   ง.ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์

9.ดาวเทียมชนิดใดที่มีกล้องโทรทรรศน์และอุปกรณ์ดาราศาสตร์สำหรับศึกษาวัตถุบนท้องฟ้า
   ก.ดาวเทียมสื่อสาร
   ข.ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
   ค.ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก
   ง.ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์

10.ดาวเทียมชนิดใดที่มีอุปกรณ์สื่อสารติดตั้งอยู่ สำหรับถ่ายทอดสัญญาณต่าง ๆ
   ก.ดาวเทียมสื่อสาร
   ข.ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
   ค.ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก
   ง.ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์

11.ไจโรสโคปเครื่องมือที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับอะไร
      ก.ควบคุมความเร็วของจรวด
    ข.ควบคุมการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจรวด
      ค.รักษาทิศทางการบินมาการทรงตัวของจรวด
      ง.ถูกทั้ง 1 และ 2

  12.การพัฒนาต้นแบบจรวดที่ใช้เป็นอาวุธสงครามนั้น ชาติใดเป็นชาติแรกที่คิดค้น
     ก.รัสเซีย
     ข.สหรัฐอเมริกา
     ค.เยอรมัน
     ง.จีน

   13. ดาวเทียมดวงใดเป็นดาวเทียมดวงแรกที่ส่งขึ้นสู่อวกาศ
     ก.สปุตนิก
     ข.ไทรอส
     ค.NOAA
     ง.LANDSAT

  14.ดาวเทียมสื่อสารมีวิถีการโคจรอย่างไร
     ก.วงโคจรค้างฟ้าเป็นวงกลมในแนวระนาบกับเส้นศูนย์สูตร
     ข.วงโคจรระดับต่ำ
     ค.วงโคจรระดับสูง
     ง.วงโคจรในแนวเหนือ-ใต้

    15.ข้อใดเป็นสถานีอวกาศแห่งแรกของโลก
     ก.สถานีอวกาศซัลยูต
     ข.สถานีอวกาศสกายแล็บ
     ค.สถานีอวกาศเมียร์
     ง.สถานีอวกาศนานาชาติ
 
   16. ดาวเทียมข้อใดเป็นดาวเทียมสื่อสารดวงแรกของประเทศไทย
     ก.ไทยคม 1
     ข.ไทรอส
     ค.ปาลาปา
     ง.คอสมอส

 17. ดาวเทียมดวงใดที่สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ใช้ในการส่งสัญญาณแพร่  ภาพ
     ก.อินเทลแซท
     ข.ไทรอส
     ค.ปาลาปา
     ง.สปอต

  18.ดาวเทียมดวงใดเป็นดาวเทียมสื่อสารเชิงพาณิชย์ที่ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ณ ปัจจุบัน  
     ก.ไทยคม 3
     ข.ไทยคม 4
     ค.ไทรอส
     ง.ปาลาปา

 19. ข้อใดเป็นดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
     ก.NOAA
     ข.คอสมอส
     ค.ไทรอส
     ง.อินเทลแซท


 20.ข้อใดเป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากร  
     ก.LANDSAT-7
     ข.ไทรอส
     ค.อินเทลแซท
     ง.NOAA

21.เพราะเหตุใดในการส่งจรวดไปในอวกาศ  เมื่อจรวดแต่ละท่อนเผาไหม้เชื้อเพลิงหมดแล้วจึงต้องถูกสลัดทิ้งไป
     ก.ลดแรงเสียดทาน
     ข.ลดมวลให้น้อยลง
     ค.ลดขนาดให้สั้นลง
     ง.ลดแรงโน้มถ่วงของโลก

22.ยานอวกาศสำรวจดาวเคราะห์ที่ ไม่มี นักบินควบคุม คือข้อใด
     ก.ยานลูนา
     ข.ยานมาริเนอร์
     ค.ยานเรนเยอร์
    ง.ยานคอสมอส

23.จุดมุ่งหมายของการส่งยานอวกาศไปสำรวจดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ คือข้อใด
     ก.ต้องการหาอายุของโลก
     ข.ต้องการหาแหล่งที่อยู่ให้ประชากร
     ค.ต้องการทราบแหล่งกำเนิดโลก
     ง.ต้องการหาทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มเติม

24.สภาวะไร้น้ำหนักมีผลต่อมนุษย์ในเรื่องใด
     ก.ระบบย่อยอาหารทำงานผิดปกติ
     ข.ระบบทางเดินหายใจขัดข้องได้ง่าย
     ค.กล้ามเนื้อยึดทำให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก
     ง.ความดันภายในโลหิตมาก เส้นเลือดแตกง่าย

25.การป้องกันการเกิดสภาพไร้น้าหนักบนยานอวกาศทำได้หรือไม่    
     ก.ได้ โดยการมัดตัวเองให้ติดกับยาน
     ข.ได้ โดยการออกกำลังกายในยานอวกาศ
     ค.ไม่ได้ เพราะยานอวกาศมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
     ง.ไม่ได้ เพราะขณะที่อยู่ในยานอวกาศมีการตกอย่างอิสระ


26.ข้อใด ไม่ใช่ หน้าที่ของดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
     ก.ตรวจวัดระดับของเมฆ
     ข.ตรวจการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์
     ค.ตรวจหาสารพิษในบรรยากาศ
     ง.ติดตามการก่อตัวและการเคลื่อนที่ของพายุ

27.ปัจจุบันประเทศไทยใช้บริการดาวเทียมสื่อสารเพื่อการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศและภายในประเทศในเรื่องใดมากที่สุด
     ก.โทรเลข  
     ข.โทรสาร
     ค.โทรศัพท์
     ง.โทรพิมพ์

28.จุดประสงค์ของโครงการสกายแลบ คืออะไร
     ก.การศึกษาทางการแพทย์
     ข.การศึกษาทางด้านดาราศาสตร์  
     ค.การศึกษาทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ
     ง.การให้มนุษย์ขึ้นไปค้นคว้าทดลองสถานีลอยฟ้าให้นานที่สุดเท่าที่จะสามารถทำได้


29.ดาวเทียมดวงแรกที่ถูกส่งขึ้นไปโคจรในวงโคจรของโลกได้สำเร็จคือข้อใด
     ก.สปุตนิก 1
     ข.อะพอลโล 1
     ค.เทลสตาร์ 1
     ง.เอ็กซ์พลอเรอร์ 1

 30 .ข้อใดไม่ใช่ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติของโลก
     ก.ดาวเทียมซีแซท
     ข.ดาวเทียมเอพีเอส 6
     ค.ดาวเทียมเอทีเอส
     ง.ดาวเทียมไทรอส

31 .ความเร็วที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นแนววิถีโค้งรอบโลกโดยไม่ตกลงสู่พื้นโลก เรียกว่า
     ก.ความเร็วเริ่มต้น
     ข.  ความเร็วหลุดพ้น
     ค.  ความเร็วสุดท้าย  
      ง.ความเร็วโคจรรอบโลก

32 .การที่วัตถุใดวัตถุหนึ่งไม่ลอยหลุดออกไปจากนอกโลก เป็นเพราะว่า
     ก.วัตถุนั้นมีพลังงานศักย์  
     ข.วัตถุนั้นมีพลังงานจลน์
     ค.วัตถุนั้นมีพลังงานศักย์และพลังงานจลน์  
     ง.แรงโน้มถ่วงของโลก

33 .เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก วัตถุนั้นจะมีสภาพเช่นไร
     ก.มวลของวัตถุมีค่าต่ำสุด  
     ข.วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงสุด  
     ค.วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่งคงที่  
     ง.วัตถุนั้นมีน้ำหนักเท่ากับศูนย์

34 .ถ้าต้องการส่งดาวเทียมออกนอกโลกจนพ้นอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงโลก จะต้องใช้ความเร็วชั่วโมงละเท่าใด ในขณะที่ความเร็วหลุดพ้นมีค่าประมาณ 11.2 กิโลเมตรต่อวินาที
     ก. 40,320 กิโลเมตร/ชั่วโมง  
     ข. 403.20 กิโลเมตร/ชั่วโมง
     ค.  500 กิโลเมตร/ชั่วโมง
     ง.  600 กิโลเมตร/ชั่วโมง

35 .ดาวเทียมสื่อสารจะโคจรในบรรยากาศชั้นใด
     ก.สตราโตสเฟียร์  
     ข.เมโสสเฟียร์  
      ค.ไอโอโนสเฟียร์
     ง.เอกโซสเฟียร์

36 .ดาวเทียมเฉพาะกิจบางดวงที่โคจรอยู่รอบโลก สามารถสำรวจทรัพยากรธรรมชาติบนพื้นโลก อยากทราบว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ย่านใดที่ดาวเทียมตรวจจับ แม่น้ำและป่าไม้ได้  
     ก.คลื่นวิทยุ
     ข.รังสีเอกซ์
     ค.  ไมโครเวฟ
     ง.  รังสีอินฟาเรด

37 .ข้อใดต่อไปนี้เป็นผลมาจากเทคโนโลยีอวกาศ
1.การสำรวจแหล่งแร่
2.การสร้างเสื้อกันความร้อน
3.การผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ 4.การตั้งสถานีผลิตกำลังไฟฟ้านอกโลก  
     ก.1,2
     ข.2,3
     ค.3,4
     ง.1,4

38 .ดาวเทียมโคจรรอบโลกได้ เพราะ
     ก.แรงโน้มถ่วงของโลก
     ข.ความเร็วโคจรรอบโลกของดาวเทียม  
     ค.  ความเร่งของการขับดันเชื้อเพลิง  
      ง.  ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ค

39 .จุดมุ่งหมายของการส่งยานอวกาศไปสำรวจดาวเคราะห์ดวงอื่นๆคืออะไร
     ก.เพื่อไขความลึกลับของเอกภพ  
     ข.ต้องการแหล่งที่อยู่ใหม่ให้ประชากรโลก
     ค.  ต้องการเผยแพร่ความรู้และวิทยาศาสตร์ไปสู่โลกอื่น
     ง.เพื่อค้นหามนุษย์ต่างดาว

40 .หน่วยงานใดเป็นผู้ควบคุมและอนุญาตให้เอกชนสามารถครอบครองจานรับสัญญาณดาวเทียมได้
     ก.กรมโทรคมนาคม
     ข.กรมไปรษณีย์โทรเลข  
     ค.การสื่อสารแห่งประเทศไทย
     ง.องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย

41.ดาวเทียมสื่อสารจะโคจรอยู่ในบรรยากาศชั้นใด
  ก. สตราโตสเฟียร์
  ข. เมโสสเฟียร์
  ค. ไอโอโนสเฟียร์
  ง. เอกโซสเฟียร์

42.เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก วัตถุนั้นจะมีสภาพเช่นไร
  ก. มวลของวัตถุจะมีค่าต่ำสุด
  ข.วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงสุด
  ค.วัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร่งคงที่
 .ง. วัตถุนั้นมีน้ำหนักเท่ากับศูนย์

43. ดาวเทียมค้างฟ้า มีความหมายตรงกับข้อใด
  ก.ดาวเทียมที่ลอยนิ่ง ๆอยู่ในอากาศ
  ข.ดาวเทียมที่หันด้านเดียวเข้าหาโลกตลอดเวลา
  ค.ดาวเทียมที่โคจรรอบโลก 1 รอบใช้เวลา 24 ชั่วโมง
  ง.ดาวเทียมที่โคจรรอบโลก 24 รอบ ในเวลา 1 ชั่วโมง

44. ยานอวกาศโครงการอะพอลโลมีจุดประสงค์คือไปสำรวจสิ่งใด
   ก.ดวงจันทร์
   ข.ดาวอังคาร
   ค.ดาวศุกร์
   ง.ดาวพฤหัสบดี



45. ยานอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม เหมาะสำหรับใช้สำรวจสิ่งใด
   ก.ดวงจันทร์
   ข.อุกกาบาต
   ค.โลก
   ง.ดาวเคราะห์อื่นๆ ที่ไม่ใช่โลก

46. ข้อใดต่อไปนี้ เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของยานขนส่งอวกาศ
   ก.ยานโคจร
   ข.จรวดขับดันเชื้อเพลิง
   ค.ถังเชื้อเพลิงภายนอก
   ง.ทุกส่วนมีความสำคัญเท่ากันหมด

47. ในการสร้างยานอวกาศขึ้นมาเพื่อวัตถุประสงค์ตามข้อใดมากที่สุด
   ก.เพื่อเป็นสถานีวิจัย
   ข.เพื่อการศึกษาสภาพบรรยากาศ
   ค.เพื่อการค้นหาทรัพยากรธรรมชาติ
   ง.เพื่อสำรวจอวกาศที่อยู่ไกลจากโลกมากๆ

48. ข้อใดต่อไปนี้ที่ประเทศไทยใช้บริการดาวเทียมเพื่อการสื่อสารภายในประเทศและระหว่างประเทศมากที่สุด
   ก.โทรเลข
   ข.โทรศัพท์
   ค.โทรพิมพ์
   ง.โทรสาร





49. “ดาวเทียม ที่ต้องทำงานอยู่ตลอดเวลาไม่มีการหยุด โดยที่ดาวเทียมต้องสามารถโคจร และรักษาตำแหน่งให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องได้ตลอดเวลา ทำงานโดยอาศัยหลักการส่งผ่าน สัญญาณถึงกันระหว่างสถานีภาคพื้นดินและดาวเทียม” ข้อความนี้กล่าวถึงดาวเทียมในข้อใด
   ก.ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
   ข.ดาวเทียมสำรวจทรัพยากร
   ค.ดาวเทียมสื่อสาร
   ง.ดาวเทียมบอกตำแหน่ง

50 ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์จากดาวเทียม
   ก.เปลี่ยนทิศทางของพายุ
   ข.สำรวจข้อมูลในทะเล
   ค.การพยากรณ์อากาศแม่นยำขึ้น
   ง.สำรวจโลก




ตอนที่ 2จงเติมข้อความลงในช่องว่างต่อไปนี้
51. กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสงที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีขนาดของเลนส์ ………………………………………………………………………………………………………
52. การส่งดาวเทียมและยานอวกาศจากพื้นโลกจะต้องมีความเร็ว
………………………………………………………………………………………………………
 53. หากต้องการให้ออกนอกวงโคจรรอบโลกจะต้องใช้ความเร็ว ………………………………….
 54. ความเร็วผละหนี หมายถึง ………………………………………………………………………
55. ความเร็วผละหนีจะมีค่าลดลงเมื่อ ……………………………………………
 56. บั้งไฟของไทยใช้หลักการเช่นเดียวกับจรวดคือ …………………..
 57. เชื้อเพลิงเหลวที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับการขับเคลื่อนของจรวดประกอบด้วย……………….
58. ระบบขนส่งอวกาศประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ ………………………………………
59. ผลของการที่มนุษย์ต้องไปอยู่ในอวกาศนาน ๆ จะมีผลเสียต่อร่างการคือ …………………………………………………………………………………..
60. ดาวเทียมที่ส่งขึ้นไปสู่ชั้นบรรยากาศภายนอกได้แก่…………………………………………………………………………………………………61. ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์มี 2 ประเภทคือ ………………………………….
62. ดาวเทียมสื่อสารอินเทลแซทอยู่ในวงโคจรรอบโลก 3 แห่งคือ …………………………………………………………………………………
63. ดาวเทียมสื่อสารไทยคมช่วยในการสื่อสารทั่วประเทศไทยและ…………………….
 64. กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลเป็นกล้องชนิด …………….…………
65. อุปกรณ์สำคัญที่ติดตั้งไปกับกล้องอวกาศฮับเบิลคือ …………………………..
66. กล้องบนพื้นโลกส่องสังเกตวัตถุท้องฟ้าได้ไกล………………………………
 67. กล้องอวกาศฮับเบิลสังเกตวัตถุท้องฟ้าได้ไกลราว ……………………….




ตอนที่ 3  จงเติมคำว่า ถูก หรือ ผิด ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
..
... 68. ดาวเคราะห์ต่าง ๆ โคจรรอบดวงอาทิตย์เพราะดวงอาทิตย์มีมวลมากกว่าดาวเคราะห์                      ทุกดวง
...
...69. กฎแห่งความโน้มถ่วงของโลกกล่าวว่า วัตถุทุกชนิดล้วนมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน
...
...70. กฎแห่งความโน้มถ่วงของโลกค้นพบโดนกาลิเลโอ
...
...71. แรงดึงดูดของโลกจะเพิ่มมากขึ้นหรือลดลงนั้น ขึ้นอยู่กับมวลของวัตถุและระยะทาง                      ระหว่างวัตถุกับจุดศูนย์กลางของโลก
...
...72. แรง 1 นิวตัน หมายถึง แรงที่ทำให้วัตถุมวล 1 กก.เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1ม./วินาที
...
...73. แรงดึงดูดโลกที่กระทำต่อมวลวัตถุ เรียกว่า แรงนิวตัน
...
...74. แรงโน้มถ่วงของโลก นอกจากจะขึ้นกับขนาดของมวลวัตถุแล้ว ยังขึ้นกับระยะห่าง              จากจุดศูนย์กลางของโลกอีกด้วย
...
...75. ความเร่งเนื่องจากเเรงโน้มถ่วงของโลก มีค่าประมาณ 8 เมตร/วินาที
...
...76 วัตถุมีมวล 1 กิโลกรัม จะมีน้ำหนัก 9.8 นิวตัน
...
...77. แรงโน้มถ่วงของโลกที่กระทำต่อมวลของวัตถุที่ระดับความสูงต่าง ๆ กันของโลก           แปรผันตรงกับระยะทางจากวัตถุถึงจุดศูนย์กลางของโลก

 78.แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรงที่ดึงดูดต่อวัตถุทั้งหมดบนโลกไม่ให้หลุดลอยไปนอก   โลก

79.  ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาเป็นดาวเทียมที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศด้วยภาพถ่าย เรดาร์ (Radar) และภาพถ่ายอินฟาเรด (Infared)

80.  ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจะโคจรแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (Sun - Synchronous)   เป็นวงโคจรในแนวเหนือ - ใต้ และผ่านแนวละติจูดหนึ่งๆ ที่เวลาท้องถิ่นเดียวกัน


























เฉลยแบบทดสอบเรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ

เฉลย เทคโนโลยีอวกาศ
ตอนที่ 1
 ข้อ 1. ก.
ข้อ 2  ข.
ข้อ 3  ง.
ข้อ 4  ก.
ข้อ 5  ข.
ข้อ 6  ข.
ข้อ 7  ข.
ข้อ 8  ค.
ข้อ 9 ง.
ข้อ 10 ก.
ข้อ 11. ค.รักษาทิศทางการบินมาการทรงตัวของจรวด
ข้อ 12  ค.เยอรมนี(ไม่แน่ใจ)
ข้อ 13  ก.สปุตนิก
ข้อ 14  ก.วงโคจรค้างฟ้าเป็นวงกลมในแนวระนาบกับเส้นศูนย์สูตร
ข้อ 15  ก.สถานีอวกาศซัลยูต
ข้อ 16  ก.ไทยคม 1
ข้อ 17  ก.อินเทลแซท
ข้อ 18  ข.ไทยคม 4
ข้อ 19  ก.NOAA
ข้อ 20  ก.LANDSAT-7
ข้อ 21.ค
ข้อ 22.ค.
ข้อ 23.ค
ข้อ 24. ง
ข้อ 25.ข
ข้อ 26.ค
ข้อ 27.ค
ข้อ 28.ง
ข้อ 29.ก
ข้อ 30.ง
ข้อ 31.ง
ข้อ 32.ง
ข้อ 33.ง
ข้อ 34.ก
ข้อ 35.ค
ข้อ 36.ง
ข้อ 37.ง
ข้อ 38.ข
ข้อ 39.ก
ข้อ 40.ข
ข้อ 41.ค
ข้อ 42.ง
ข้อ 43. ค
ข้อ 44.ก
ข้อ 45.ก
ข้อ 46.ง
ข้อ 47.ง
ข้อ 48.ข
ข้อ 49.ค
ข้อ 50.ก



ตอนที่2

51.วัดโดยเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร
52.แบบแคสสิเกรน กระจกเว้ารับแสง
53.อย่างน้อย 7.91 กิโลเมตรต่อวินาที
54.มากกว่า 11.2 กิโลเมตรต่อวินาที
55.ความเร็วของการผละหนีจากพื้นโลกเพื่อที่จะหลุดพ้นจากแรงดึงดูดของโลก
56.มีระยะสูงจากพื้นมากขึ้น
57.แรงกิริยาจากบั้งไฟที่พุ่งไปข้างหน้าเท่ากับแรงปฏิกิริยาที่ไอเสียพุ่งออกไปทางด้านหลัง
58.ออกซิเจนเหลวและไฮโดรเจนเหลว
59.จรวดเชื้อเพลิงแข็ง  ถังเชื้อเพลิงภายนอกและยานขนส่งอวกาศ
60.หัวใจทำงาน
61.1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
            2. ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก
            3. ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์
            4. ดาวเทียมสื่อสาร
ช้าลง กล้ามเนื้อทุกส่วนมีขนาดเล็กลง  กระดูกมีความหนาแน่นลดลง
62.ประเภทโคจรรอบโลกและโครจรไปดาวเคราะห์ดวงอื่น หรือลงไปสำรวจดาวเคราะห์ (ยานอวกาศ)
63.เหนือมหาสมุทรอินเดีย  เหนือมหาสมุทรแปซิฟิก และเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก
64.ประเทศในแถบอินโดจีนไปจนถึงเกาหลีและญี่ปุ่น รวมทั้งชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของจีน
65.สะท้อนแสง  กระจกเว้ารับแสงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.4 เมตร (7.9 ฟุต) ตัวกล้องมีความยาว 4.3 เมตร
66.ระบบคอมพิวเตอร์  กล้องถ่ายภาพมุมกว้าง เครื่องตรวจวัดสเปกตรัม เครื่องปรับทิศทางกล้อง
67.ราว 2 พันล้านปีแสง
68. 14,000 พันล้านปีแสง


ตอนที่ 3
68.ถูก
69.ถูก
70.ผิด
71.ถูก
72.ผิด
73.ผิด
74.ถูก
75.ผิด
76.ถูก
77.ผิด
78.ถูก
79.ถูก
80.ถูก

บทที่ 4 ความผิดปกติและโรคทางพันธุกรรม

1. พันธุกรรม(Heredity) หมายถึงข้อใด
ก.  สิ่งที่ได้รับการถ่ายทอดจากคนที่รู้จัก
ข. สิ่งที่ได้รับจากการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ หรือจากรุ่นสู่รุ่น
ค. สิ่งที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษเพียงรุ่นเดียว
ง. ความผิดปกติของร่างกาย
2. ข้อใดไม่เป็นลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ก. ถนัดมือขวา                 ข. ลักยิ้ม
ค. แผลเป็น                       ง. ตาสองชั้น
3. ลักษณะในข้อใดเกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ก. ตี๋ใหญ่เป็นโจรเหมือนพ่อ
ข. สมใจมีลักยิ้มเหมือนแม่
ค.  แดงชอบทานไก่ทอดเหมือนพ่อ
ง.  สมศรีและแม่ป่วยเป็นโรคกระเพาะ
4. ลักษณะใดเป็นความแปรผันแบบต่อเนื่อง
ก. มีติ่งหู                                         ข. ห่อลิ้นได้
ค. คิ้วห่าง                                        ง. ความสูง
5. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโครโมโซม
ก.  ออโทโซมทุกคู่จะมีขนาดเท่ากัน
ข. ในเซลล์ร่างกายจะมีโครโมโซม 46 แท่ง
ค.  โครโมโซมแต่ละคู่จะมีจำนวนยีนต่างกัน
ง. เซลล์ไข่หรืออสุจิจะมีโครโมโซม 23 แท่ง
6. ในเซลล์ของคน “ออโตโซม” หมายถึงโครโมโซมคู่ที่เท่าใด
ก. 1                                                  ข. 23
ค. 1-22                                             ง. 1-23
7. โครโมโซมมีองค์ประกอบเป็นสารประเภทใด
ก.  ไขมันและโปรตีน
ข. กรดนิวคลีอิกและไขมัน
ค.  กรดนิวคลีอิกและโปรตีน
ง. กรดนิวคลีอิก ไขมัน และโปรตีน
8. โอกาสที่จะได้ลูกสาวมีค่าเท่ากับเท่าใด
ก. 25%                                            ข. 50%
ค. 75 %                                          ง. 100%
9. เมนเดลได้ศึกษาเรื่องราวของพันธุกรรม โดยค้นพบหลักเกณฑ์ในข้อใด
ก. สิ่งมีชีวิตถ่ายทอดลักษณะต่างๆ ไปสู่รุ่นหนึ่ง
ข. เมื่อมีการปฏิสนธิ ทั้งยีนและโครโมโซมจะถูกถ่ายทอดไปสู่ลูกพร้อมๆ กัน
ค. โครโมโซมจะแยกกันอยู่อย่างอิสระ เมื่อมีการปฏิสนธิจะมีการรวมกันของโครโมโซมอีกครั้งหนึ่ง
ง. ยีนที่อยู่เป็นคู่ๆ ในสิ่งมีชีวิตจะแยกออกจากกันอย่างอิสระเมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ และจะกลับมารวมกันอีกครั้งเมื่อมีการปฏิสนธิ                                                                                                                                                                                                                                            10. ลักษณะในข้อใดน่าจะนำโดยยีนด้อย
ก.  พบลักษณะนั้นๆ ในทุกรุ่น
ข. พบลักษณะนั้นๆ บางชั่วรุ่น
ค.  คนส่วนมากมีลักษณะนั้นๆ อยู่แล้ว
ง. ไม่มีลักษณะใดๆ ที่นำโดยยีนด้อย
11. โรคกลุ่มใดเกิดจากความผิดปกติของออโทโซม
ก.  ตาบอดสี                             ข.  ดาวน์ซินโดรม
ค.  ไคลน์เฟลเตอร์ซินโดรม          ง.  เทอร์เนอร์ซินโดรม
12. ข้อใด ไม่ ตรงกับข้อเท็จจริง
ก. โรคทางพันธุกรรมในมนุษย์ส่วนใหญ่รักษาได้
ข. ปัจจุบันมนุษย์สามารถตัดต่อยีนเพื่อผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้
ค. โรคทางพันธุกรรมในมนุษย์บางครั้งพบว่าไม่แสดงอาการให้เห็น
ง. ลักษณะที่คนส่วนใหญ่มีหรือแสดงออกคือลักษณะที่ถูกควบคุมโดยยีนเด่น
13.  ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับเทคนิคพันธุวิศวกรรม
ก. เป็นการนำยีนของสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมาต่อกัน
ข. เป็นการนำยีนของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดมาต่อกัน
ค. เป็นการตัดยีนที่ไม่ดีทิ้งไป
ง. เป็นการเพิ่มจำนวนยีนให้มีมากขึ้นตามที่ต้องการ
14. ข้อใดประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพ
ก. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช               ข. การโคลนนิ่ง
ค. พืช GMOs                                 ง. ถูกทุกข้อ
15. ทำไมจึงต้องมีการคัดเลือกพันธุ์
ก.  เพื่อปรับปรุงพันธ์พืชและสัตว์
ข. เพื่อปรับปรุงให้ได้สายพันธุ์ใหม่
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
ง. ไมมีข้อถูก
เฉลยแบบทดสอบก่อน –หลังเรียน
1.  ข          2. ค     3. ข        4. ง         5. ค        6. ค        7. ค        8. ข        9. ง
10. ข      11. ข      12. ก     13. ข         14. ง   15.ค

บทที่3ระบบนิเวศ
1.ข้อใด เป็นระบบนิเวศตามธรรมชาติ ?
ก. ชุมชนเมือง
ข. แหล่งเกษตรกรรม
ค. ป่าไม้
ง. ตู้ปลา
2.ข้อใด เป็นผู้บริโภคพืช ?
ก. นกเป็ดน้ำ
ข. กระต่าย
ค. แมว
ง. เสือ
3.ข้อใด ไม่เกี่ยวข้องกับความหนาแน่นของประชากร ?
ก. การเกิด
ข. การอพยพเข้า
ค. การป่วย
ง. การตาย
4.ข้อใด เป็นปัญหาที่เกิดจากการเพิ่มจำนวนประชากร ?
ก. การขาดแคลนพื้นที่อยู่อาศัย
ข. พื้นที่ทางการเกษตรลดลง
ค. ความต้องการปัจจัยสี่เพิ่มขึ้น
ง. ถูกทุกข้อ
5.ข้อใด เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน ?
ก. นกเอี้ยง กับ ควาย
ข. โพรโทซัว ใน ลำไส้ปลวก
ค. กล้วยไม้ กับ ต้นสัก
ง. สุนัข กับ เห็บ
6.เราเรียก ห่วงโซ่อาหารที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างสลับซับซ้อนว่าอะไร ?
ก. ผู้บริโภคลำดับที่สอง
ข. พีระมิดพลังงาน
ค. สายใยอาหาร
ง. คลอโรฟิลล์
7.การหายใจของพืชและสัตว์ เพื่อให้ได้พลังงานออกมาใช้ จะปล่อยก๊าซอะไรออกมา ?
ก. H2O
ข. CO2
ค. NO3
ง. H2CO3
8.ข้อใด เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ไม่หมด ?
ก. ป่าไม้
ข. แร่ธาตุ
ค. แสง
ง. ถ่านหิน
9.ข้อใด เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถสร้างทดแทนขึ้นใหม่ได้ ?
ก. แสง
ข. อากาศ
ค. น้ำมันปิโตรเลียม
ง. ป่าไม้
10.ข้อใด เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป ?
ก. ดิน
ข. น้ำมันปิโตรเลียม
ค. อากาศ
ง. สัตว์ป่า
เฉลย:(1) ก (2)ข (3)ง (4)ง (5)ก (6)ข (7)ข (8)ค (9)ง (10)ข
บทที่ 2 ปัญหาสิ่งเเวดล้อม

1. ข้อใดคือความหมายของสิ่งแวดล้อม

ก. สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา เป็นสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
ข. สิ่งที่มองเห็นได้หรือมองไม่เห็นก็ได้
ค. สิ่งที่สามารถจับต้องได้หรือไม่สามารถจับต้องได้
ง. ถูกทุกข้อ



2. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ก. ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติแต่สิ่งแวดล้อมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยอาศัยทรัพยากรธรรมชาติ
ข. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่างเป็นสิ่งที่ให้ประโยชน์ต่อมนุษย์เช่นกัน
ค. ทรัพยากรธรรมชาติเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม
ง. ถูกทุกข้อ


3. การแบ่งประเภทของทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้เกณฑ์การนำไปใช้จะแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ก. 5 ประเภท
ข. 4 ประเภท

ค. 3 ประเภท

ง. 2 ประเภท



4. ทรัพยากรธรรมชาติที่นำมาใช้แล้วสามารถนำไปแปรรูปให้กลับไปสู่สภาพเดิมได้ แล้วนำกลับมาใช้ใหม่อีก คือ
ก. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้
ข. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้นไป
ค. ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้
ง. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น


5. ข้อใดคือทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้นไป หรือสามารถเกิดขึ้นทดแทนได้ แต่ต้องใช้เวลายาวนานมาก
ก. น้ำมันปิโตรเลียม
ข. ก๊าซธรรมชาติ

ค. ถ่านหิน

ง. ถูกทุกข้อ



6. ข้อใดคือทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้
ก. ป่าไม้
ข. ทองแดง

ค. อะลูมิเนียม

ง. พลังงานจากดวงอาทิตย์


7. ข้อใดคือความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติต่อมนุษย์
ก. ทรัพยากรธรรมชาติเป็นต้นกำเนิดของปัจจัย 4
ข. ทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจัยในการรักษาสมดุลธรรมชาติ
ค. ทรัพยากรธรรมชาติเป็นปัจจัยพื้นฐานในการตั้งถิ่นฐานและประกอบอาชีพของมนุษย์


8. ข้อใดคือกิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ก. การใช้ยาฆ่าแมลง เพื่อเพิ่มผลผลิต
ข. การใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย
ค. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติทางอุตสาหกรรมและก่อให้เกิดมลพิษ
ง. ถูกทุกข้อ


9. ข้อใดคือสาเหตุที่ทำให้มนุษย์ทำลายสิ่งแวดล้อม
ก. ความไม่รู้
ข. การเพิ่มของประชากร

ค. พฤติกรรมการบริโภค

ง. ถูกทุกข้อ


10. ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ คือ
ก. ทรัพยากรน้ำ
ข. ทรัพยากรดิน

ค. ทรัพยากรป่าไม้

ง. ถูกทุกข้อ



11. ข้อใดคือสาเหตุและผลกระทบของทรัพยากรดิน
ก. การกัดเซาะดิน
ข. การเผาป่าไม้
ค. การเพาะปลูกและเตรียมดินอย่างไม่ถูกวิธี
ง. เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลกระทบทุกข้อ


12. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ทางอ้อมของป่าไม้ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
ก. ป่าไม้เป็นแหล่งกำเนิดต้นน้ำลำธาร
ข. ป่าไม้ช่วยป้องกันการกัดเซาะและพัดพาหน้าดิน
ค. สนองปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ 4 ประการ
ง. ป่าไม้ช่วยดูดซับมลพิษของอากาศ


13. ประเภทของป่าไม้ในประเทศไทยแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆได้กี่ประเภท
ก. 4 ประเภท
ข. 2 ประเภท

ค. 6 ประเภท

ง. 5 ประเภท



14. ข้อใดเป็นป่าที่ไม่ผลัดใบ
ก. ป่าดงดิบ
ข. ป่าเบญจพรรณ

ค. ป่าเต็งรัง

ง. ป่าหญ้า



15. ป่าดงดิบมีมากที่สุดในภาคใด
ก. ภาคอีสาน
ข. ภาคใต้และภาคตะวันออก

ค. ภาคเหนือ

ง. ภาคตะวันตก



16. ป่าในข้อใดเป็นป่าผลัดใบ
ก. ป่าชายหาด
ข. ป่าพรุหรือป่าบึงน้ำจืด

ค. ป่าเต็งรัง

ง. ป่าสนเขา


17. ข้อใดคือแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อสิ่งแวดล้อม
ก. การให้การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ข. การสร้างจิตสำนึกแห่งการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ค. การส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้เอื้อต่อสิ่งแวดล้อม
ง. ถูกทุกข้อ


18. ข้อใดคือการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำอย่างถูกวิธี
ก. การใช้น้ำอย่างประหยัด
ข. การพัฒนาแหล่งน้ำ

ค. การป้องกันน้ำเสีย

ง. ถูกทุกข้อ


19. ข้อใดคือการอนุรักษ์ทรัพยากรดินอย่างถูกวิธี
ก. การใช้ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม
ข. การปรับปรุงบำรุงดิน

ค. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน

ง. ถูกทุกข้อ



20. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการอนุรักษ์แร่ธาตุอย่างถูกวิธี
ก. การสำรวจแหล่งแร่
ข. นำแร่ที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก

ค. การใช้แร่เพียงชนิดเดียวโดยไม่ใช้แร่ชนิดอื่น

ง. การจัดเก็บภาษีและค่าภาคหลวงแร่


ตอนที่ 2

ข้อที่ 1 ขยะส่วนใหญ่ที่เกิดจากโรงอาหารจัดเป็น

คำตอบที่1 Garbage
คำตอบที่2 Rubbish
คำตอบที่3 Industrial waste
คำตอบที่4 Hazardous waste


ข้อที่ 2 ข้อใดถูกต้อง
คำตอบที่1 Rubbish จะทำให้ ขยะเน่าเหม็นง่ายขึ้น
คำตอบที่2 คนรวยมักสร้างขยะมากกว่าคนจน
คำตอบที่3 Transfer station ของขยะกรุงเทพมหานครอยู่ที่จังหวัดนครปฐม
คำตอบที่4 ถูกทั้ง ข้อ 1.และ 2.


ข้อที่ 3 ข้อใดถูกต้องที่สุด
คำตอบที่1 Commingled solid waste หมายถึง ขยะที่มีวัสดุหลายชนิดปะปนกัน
คำตอบที่2 Rubbish หมายถึง ขยะที่มี food waste เป็นองค์ประกอบหลัก
คำตอบที่3 Litter หมายถึง ขยะที่รวบรวมอยู่ในถังขยะ
คำตอบที่4 Refuse หมายถึง ขยะที่ได้แยกขยะครัวออกแล้ว


ข้อที่ 4 ปริมาณมูลฝอยที่เกิดจากการดำรงชีพหรือมูลฝอยชุมชนนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยใดดังต่อไปนี้
คำตอบที่1 ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์และฤดูกาล
คำตอบที่2 รูปแบบของการดำรงชีวิต
คำตอบที่3 ทัศนคติในการดำรงชีวิต
คำตอบที่4 ถูกทุกข้อ


ข้อที่ 5 ขยะมีน้ำหนักแห้งเท่ากับ 125 กก./ลบ.ม. สามารถรับน้ำได้โดยการแทนที่อากาศในช่องว่าง ถ้าขยะมีความชื้นเท่ากับ 25% จง คำนวณหาน้ำหนักเปียกที่เพิ่มขึ้น
คำตอบที่1 60 กก./ลบ.ม.
คำตอบที่2 94 กก./ลบ.ม.
คำตอบที่3 167 กก./ลบ.ม.
คำตอบที่4 500 กก./ลบ.ม


ข้อที่ 6 Ultimate analysis เป็นการวิเคราะห์หาค่าของพารามิเตอร์ใดในการเผาไหม้
คำตอบที่1 ไนโตรเจน
คำตอบที่2 สารระเหยง่าย
คำตอบที่3 เถ้า
คำตอบที่4 ถูกมากกว่า 1 ข้อ


ข้อที่ 7 Proximate analysis เป็นการวิเคราะห์หาค่าของพารามิเตอร์ใดในการเผาไหม้
คำตอบที่1 ไนโตรเจน
คำตอบที่2 สารระเหยง่าย
คำตอบที่3 ไฮโดรเจน
คำตอบที่4 ถูกมากกว่า 1 ข้อ


ข้อที่ 8 ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติของขยะมูลฝอย
คำตอบที่1 Biodegradable waste ได้แก่ Food waste, Paper, Textile
คำตอบที่2 Combustible waste ได้แก่ Wood, Textile, Paper
คำตอบที่3 Inorganic waste ได้แก่ Metals, Plastic, Rubber,
คำตอบที่4 ผิดมากกว่า 1 ข้อ


ข้อที่ 9 ตัวแปรที่สำคัญของคุณสมบัติขยะมูลฝอยที่ต้องพิจารณาในการหมักทำปุ๋ยได้แก่อะไร
คำตอบที่1 ความชื้น
คำตอบที่2 ค่าความร้อน
คำตอบที่3 ขี้เถ้า
คำตอบที่4 ถูกทุกข้อ


ข้อที่ 10 คุณลักษณะที่แตกต่างที่สำคัญระหว่างขยะเมืองใหญ่ และขยะชนบท ได้แก่
คำตอบที่1 ขยะเมืองใหญ่มีโอกาสเน่าได้ง่ายกว่า
คำตอบที่2 อัตราการเกิดของขยะเมืองใหญ่ต่อคนสูงกว่า และ % เศษอาหารสดต่ำกว่า
คำตอบที่3 ขยะชนบทมีความหลากหลายประเภทมากกว่า
คำตอบที่4 ขยะชนบทสามารถนำมารีไซเคิลได้ง่ายกว่า


ข้อที่ 11 ขยะอินทรีย์ได้แก่
คำตอบที่1 ยาง กระเบื้อง ถังพลาสติก หนังสือพิมพ์ ถุงมือยาง กล่องไม้ขีด
คำตอบที่2 หนัง แก้ว กระดาษเคลือบมัน อิฐหัก เศษผัก กรอบรูป
คำตอบที่3 เศษผ้า คลิปหนีบกระดาษ นิตยสาร กระเป๋าหนัง สายไฟ
คำตอบที่4 ช้อนพลาสติก ผ้า กระดาษลูกฟูก โฟม ยาง หนังเทียม ไม้ 4 of 94


ข้อที่ 12 การใช้เครื่องบดเศษอาหารใต้อ่างล้างชามเพื่อทิ้งลงท่อระบายน้ำ มีความเหมาะสมหรือไม่ในประเทศไทย
คำตอบที่1 เหมาะสม เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอย
คำตอบที่2 เหมาะสม เพื่อความสะดวกและป้องกันกลิ่นเหม็นจากการเน่าของเศษอาหาร
คำตอบที่3 ไม่เหมาะสม เนื่องจากจะเพิ่มปัญหาของระบบระบายและบำบัดน้ำทิ้ง
คำตอบที่4 ไม่เหมาะสม เพราะเครื่องมีราคาแพง


ข้อที่ 13 ชุมชนแห่งหนึ่งมีประชากร 200,000 คน จากสถิติขยะที่เก็บขนได้ 58,400 ตัน/ปี อัตราการเกิดขยะของชุมชนแห่งนี้คือ
คำตอบที่1 0.292 กก./คน
คำตอบที่2 2.92 กก./คน/วัน
คำตอบที่3 0.8 กก./คน
คำตอบที่4 0.8 กก./คน/วัน


ข้อที่ 14 การศึกษาลักษณะของมูลฝอย มีการศึกษาในลักษณะใดบ้าง?
คำตอบที่1 ทางกายภาพ
คำตอบที่2 ทางเคมี
คำตอบที่3 ทางฟิสิกส์
คำตอบที่4 ทางกายภาพ ทางเคมี และทางชีวภาพ




--------------------เฉลย-------------------



ตอนที่ 1

1. ข้อใดคือความหมายของสิ่งแวดล้อม

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


2. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


3. การแบ่งประเภทของทรัพยากรธรรมชาติโดยใช้เกณฑ์การนำไปใช้จะแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ตอบ ข. 4 ประเภท ได้แก่
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น
2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้
3. ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้
4. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้นไป


4. ทรัพยากรธรรมชาติที่นำมาใช้แล้วสามารถนำไปแปรรูปให้กลับไปสู่สภาพเดิมได้ แล้วนำกลับมาใช้ใหม่อีก คือ

ตอบ ค. ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้



5. ข้อใดคือทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้นไป หรือสามารถเกิดขึ้นทดแทนได้ แต่ต้องใช้เวลายาวนานมาก

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


6. ข้อใดคือทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้

ตอบ ก. ป่าไม้


7. ข้อใดคือความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติต่อมนุษย์

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


8. ข้อใดคือกิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


9. ข้อใดคือสาเหตุที่ทำให้มนุษย์ทำลายสิ่งแวดล้อม

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


10. ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ คือ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่
- ทรัพยากรน้ำ - ทรัพยากรแร่ธาตุ
- ทรัพยากรดิน - ทรัพยากรพลังงาน
- ทรัพยากรป่าไม้ - ทรัพยากรสัตว์ป่า
- ทรัพยากรป่าชายเลน - ทรัพยากรปะการัง



11. ข้อใดคือสาเหตุและผลกระทบของทรัพยากรดิน

ตอบ ง. เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลกระทบทุกข้อ


12. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ทางอ้อมของป่าไม้ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์

ตอบ ค. สนองปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ 4 ประการ


13. ประเภทของป่าไม้ในประเทศไทยแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆได้กี่ประเภท

ตอบ ข. 2 ประเภท ได้แก่ 1. ป่าประเภทที่ไม่ผลัดใบ (Evergreen)
2. ป่าประเภทที่ผลัดใบ (Deciduous)


14. ข้อใดเป็นป่าที่ไม่ผลัดใบ

ตอบ ก. ป่าดงดิบ
ป่าประเภทที่ไม่ผลัดใบ (Evergreen) ได้แก่ 1. ป่าดงดิบ 2. ป่าสนเขา
3. ป่าชายเลน 4. ป่าพรุหรือป่าบึงน้ำจืด 5. ป่าชายหาด


15. ป่าดงดิบมีมากที่สุดในภาคใด

ตอบ ข. ภาคใต้และภาคตะวันออก


16. ป่าในข้อใดเป็นป่าผลัดใบ

ตอบ ค. ป่าเต็งรัง ป่าประเภทผลัดใบ ได้แก่ 1. ป่าเบญจพรรณ 2. ป่าเต็งรัง 3. ป่าหญ้า




17. ข้อใดคือแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อสิ่งแวดล้อม

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ




18. ข้อใดคือการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำอย่างถูกวิธี

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ การอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ได้แก่ 1. การใช้น้ำอย่างประหยัด
2. การสงวนน้ำไว้ใช้ 3. การพัฒนาแหล่งน้ำ 4. การป้องกันน้ำเสีย 5. การนำน้ำเสียกลับไปใช้


19. ข้อใดคือการอนุรักษ์ทรัพยากรดินอย่างถูกวิธี

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ การอนุรักษ์ทรัพยากรดิน ได้แก่ 1. การใช้ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม 2. การปรับปรุงบำรุงดิน 3. การป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน 4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน




20. ข้อใด ไม่ใช่ วิธีการอนุรักษ์แร่ธาตุอย่างถูกวิธี

ตอบ ค. การใช้แร่เพียงชนิดเดียวโดยไม่ใช้แร่ชนิดอื่น การอนุรักษ์แร่ธาตุ ได้แก่
1. การใช้แร่ธาตุอย่างประหยัด 2. การสำรวจแหล่งแร่ 3. การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทน 4. นำแร่ที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก 5. การจัดเก็บภาษีและค่าภาคหลวงแร่




ตอนที่ 2

ข้อที่ 1 ขยะส่วนใหญ่ที่เกิดจากโรงอาหารจัดเป็น
ตอบ คำตอบที่1 Garbage


ข้อที่ 2 ข้อใดถูกต้อง

ตอบ คำตอบที่2 คนรวยมักสร้างขยะมากกว่าคนจน

ข้อที่ 3 ข้อใดถูกต้องที่สุด
ตอบ คำตอบที่1 Commingled solid waste หมายถึง ขยะที่มีวัสดุหลายชนิดปะปนกัน


ข้อที่ 4 ปริมาณมูลฝอยที่เกิดจากการดำรงชีพหรือมูลฝอยชุมชนนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยใดดังต่อไปนี้


ตอบ คำตอบที่4 ถูกทุกข้อ


ข้อที่ 5 ขยะมีน้ำหนักแห้งเท่ากับ 125 กก./ลบ.ม. สามารถรับน้ำได้โดยการแทนที่อากาศในช่องว่าง ถ้าขยะมีความชื้นเท่ากับ 25% จง คำนวณหาน้ำหนักเปียกที่เพิ่มขึ้น

ตอบ คำตอบที่3 167 กก./ลบ.ม.


ข้อที่ 6 Ultimate analysis เป็นการวิเคราะห์หาค่าของพารามิเตอร์ใดในการเผาไหม้

ตอบ คำตอบที่4 ถูกมากกว่า 1 ข้อ


ข้อที่ 7 Proximate analysis เป็นการวิเคราะห์หาค่าของพารามิเตอร์ใดในการเผาไหม้

ตอบ คำตอบที่2 สารระเหยง่าย


ข้อที่ 8 ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติของขยะมูลฝอย

ตอบ คำตอบที่4 ผิดมากกว่า 1 ข้อ


ข้อที่ 9 ตัวแปรที่สำคัญของคุณสมบัติขยะมูลฝอยที่ต้องพิจารณาในการหมักทำปุ๋ยได้แก่อะไร

ตอบ คำตอบที่1 ความชื้น


ข้อที่ 10 คุณลักษณะที่แตกต่างที่สำคัญระหว่างขยะเมืองใหญ่ และขยะชนบท ได้แก่

ตอบ คำตอบที่2 อัตราการเกิดของขยะเมืองใหญ่ต่อคนสูงกว่า และ % เศษอาหารสดต่ำกว่า


ข้อที่ 11 ขยะอินทรีย์ได้แก่

ตอบ คำตอบที่4 ช้อนพลาสติก ผ้า กระดาษลูกฟูก โฟม ยาง หนังเทียม ไม้ 4 of 94


ข้อที่ 12 การใช้เครื่องบดเศษอาหารใต้อ่างล้างชามเพื่อทิ้งลงท่อระบายน้ำ มีความเหมาะสมหรือไม่ในประเทศไทย

ตอบ คำตอบที่3 ไม่เหมาะสม เนื่องจากจะเพิ่มปัญหาของระบบระบายและบำบัดน้ำทิ้ง


ข้อที่ 13 ชุมชนแห่งหนึ่งมีประชากร 200,000 คน จากสถิติขยะที่เก็บขนได้ 58,400 ตัน/ปี อัตราการเกิดขยะของชุมชนแห่งนี้คือ

ตอบ คำตอบที่4 0.8 กก./คน/วัน


ข้อที่ 14 การศึกษาลักษณะของมูลฝอย มีการศึกษาในลักษณะใดบ้าง?

ตอบ คำตอบที่4 ทางกายภาพ ทางเคมี และทางชีวภาพ
บทที่ 1 ภาวะโลกร้อน

1. ภาวะโลกร้อน หมายถึงอะไร

  ก. ปรากฏการณ์เรือนกระจก
 ข. อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น
 ค. การปล่อยก๊าชพิษสู่อากาศ
 ง. น้ำแข็งขั้วโลกเริ่มละลายลงสู่ทะเล

2. ข้อใดคือสาเหตุหลักของการเกิดภาวะโลกร้อน

  ก. โรงงานอุตสาหกรรม
 ข. รถยนต์
 ค. บ้านเรือน
 ง. ขยะ

3. ปรากฏการณเรือนกระจก เกิดจากก๊าซอะไรเพิ่มขึ้น

  ก. ก๊าชไนโตรเจน
 ข. ก๊าชออกซิเจน
 ค. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
 ง. ก๊าซอาร์กอน

4. ข้อใดเป็นก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด

  ก. ไอน้ำ (H2O) ,ก๊าชไนโตรเจน
 ข. ไอน้ำ (H2O), ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
 ค. ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) , ก๊าชไนโตรเจน
 ง. ก๊าซมีเทน (CH4),ก๊าชออกซิเจน

5. ข้อดี ของปรากฏการณเรือนกระจก คืออะไร

  ก. แสงแดดน้อยลง
 ข. ฝนตกมาขึ้น
 ค. อากาศแจ่มใส
 ง. โลกอุ่นขึ้น

6. ก๊าช มีเทน มีแหล่งที่มาจากที่ใด

  ก. ควันรถยนต์
 ข. เผาป่า
 ค. การย่อยสลายสิ่งมีชีวิต
 ง. การตัดต้นไม้

7. ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน

  ก. ทะเลทรายตอนกลางวันอากาศเย็นขึ้น
 ข. ระดับน้ำทะเลทางขั้วโลกเหนือเพิ่มขึ้น
 ค. เกิดความแห้งแล้งในฤดูร้อนที่ยาวนาน
 ง. ทำให้เชื้อโรคเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว

8. ภัยธรรมชาติที่จะเกิดตามมากับภาวะโลกร้อนที่เห็นได้ชัดที่สุดคืออะไร

  ก. ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น
 ข. เกิดพายุน้อยลง
 ค. คลื่นความร้อนบ่อยขึ้น
 ง. ปัญหาภัยแล้งกำลังจะหมดไปเพราะน้ำท่วม

9. ประเทศใดที่มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุด

  ก. รัสเซีย
 ข. สหรัฐอเมริกา
 ค. ไทย
 ง. จีน

10. ข้อใดเป็นการลดสภาวะโลกร้อนได้ดีที่สุด

  ก. แก้วเปิดพัดลมแทนเครื่องปรับอากาศ
 ข. นเรศปลูกต้นไม้รอบๆบ้าน
 ค. ธิดาใช้จักรยานแทนรถยนต์
 ง. สุดาอาบน้ำเย็นแทนอุ่น







เฉลย
1.ข
2.ก
3.ค
4.ข
5.ง
6.ค
7.ง
8.ก
9.ก
10.ค

วิดีโอ บทที่ 1เรื่องภาวะโลกร้อน